สรุปภาพรวมการเรียนรู้
วันเสาร์ที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2559
วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559
การประเมินสื่อ (Media) CAI & Instructional Package
การประเมินสื่อ (Media) CAI & Instructional Package
แนวคิด
1.การประเมินสื่อการศึกษา-เป็นกระบวนการพิจารณาตัดสินคุณภาพของสื่อที่สร้างขึ้น เพื่อใช้ในการเรียนการสอนตามเอกัตภาพ
2.สื่อที่ใช้ในการจัดการศึกษา
-ที่นิยมใช้มี 2 ชนิด คือ ชุดกิจกรรม หรือชุดการสอนรายบุคคล และบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หรือบทเรียนโปรแกรม ซึ่งสื่อทั้งสองชนิดมีวิธีการหาค่าประสิทธิภาพแตกต่างกัน
3.เกณฑ์ E1/E2
-เกณฑ์ที่ใช้ประเมินชุดการสอน โดยดูจากค่าตัวเลขที่สะท้อนประสิทธิภาพจากการทากิจกรรมระหว่างเรียน และการทดสอบหลังเรียน
4. เกณฑ์มาตรฐาน 90/90 (The 90/90 standard)
-เกณฑ์ที่ใช้ประเมินบทเรียนสาเร็จรูป และบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยดูจากค่าตัวเลขที่สะท้อนประสิทธิภาพจากการทดสอบหลังเรียน และร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านทุกจุดประสงค์ของการเรียนรู้
ความหมายของการทดสอบประสิทธิภาพ
- การหาคุณภาพของสื่อ หรือชุดการสอน โดยพิจารณาตามขั้นตอนของการพัฒนาสื่อหรือชุดการสอนแต่ละขั้น “Developmental Testing”- การทดสอบคุณภาพตามพัฒนาการของการผลิตสื่อหรือชุดการสอนตามลาดับขั้นเพื่อตรวจสอบคุณภาพของแต่ละองค์ประกอบของต้นแบบชิ้นงาน ให้ดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ
การทดสอบประสิทธิภาพ
- การทดสอบประสิทธิภาพใช้เบื้องต้น (Try Out)การนาสื่อหรือชุดการสอนที่ผลิตขึ้นเป็นต้นแบบ (Prototype) ไปทดลอบประสิทธิภาพใช้ตามขั้นตอนที่กาหนดไว้ในแต่ละระบบ เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพของสื่อหรือชุดการสอนให้เท่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ และปรับปรุงจนถึงเกณฑ์
- ทดสอบประสิทธิภาพสอนจริง (Trial Run)
การนาสื่อหรือชุดการสอนที่ได้ทดสอบประสิทธิภาพใช้และปรับปรุงจนได้คุณภาพถึงเกณฑ์ของแต่ละหน่วย ทุกหน่วยในแต่ละวิชาไปสอนจริงในชั้นเรียนหรือในสถานการณ์การเรียนที่แท้จริงในช่วงเวลาหนึ่ง อาทิ 1 ภาคการศึกษาเป็นอย่างน้อย เพื่อตรวจสอบคุณภาพเป็นครั้งสุดท้ายก่อนนาไปเผยแพร่และผลิตออกมาเป็นจานวนมาก
การกาหนดเกณฑ์ประสิทธิภาพ
1.ความหมายของเกณฑ์ (Criterion)เกณฑ์เป็นขีดกาหนดที่จะยอมรับว่า สิ่งใดหรือพฤติกรรมใดมีคุณภาพและหรือปริมาณที่จะรับได้ การตั้งเกณฑ์ ต้องตั้งไว้ครั้งแรกครั้งเดียว เพื่อจะปรับปรุงคุณภาพให้ถึงเกณฑ์ขั้นต่าที่ตั้งไว้ จะตั้งเกณฑ์การทดสอบประสิทธิภาพไว้ต่างกันไม่ได้
2.ความหมายของเกณฑ์ประสิทธิภาพ
ระดับประสิทธิภาพของสื่อหรือชุดการสอนที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เป็นระดับที่ผลิตสื่อหรือชุดการสอนจะพึงพอใจว่า หากสื่อหรือชุดการสอนมีประสิทธิภาพถึงระดับนั้นแล้ว สื่อหรือชุดการสอนนั้นก็มีคุณค่าที่จะนาไปสอนนักเรียน และคุ้มแก่การลงทุนผลิตออกมาเป็นจานวนมาก
เกณฑ์มาตรฐาน 90/90 (The 90/90 standard)
นิยามความหมาย “เกณฑ์มาตรฐาน 90/90”
90 ตัวแรก = ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยที่ได้จากการทดสอบหลังการเรียน90 ตัวหลัง = ร้อยละของจานวนนักเรียนที่ผ่านทุกจุดประสงค์ตามเกณฑ์วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
วิธีการคำนวณ
90 ตัวแรก = {(ΣX /N) X 100)}/R
90 ตัวแรก หมายถึง จานวนร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบ หลังเรียนΣX หมายถึง คะแนนรวมของผลการทดสอบที่ผู้เรียนแต่ละคน ทาได้ถูกต้องจากการทดสอบหลังเรียน
N หมายถึง จานวนผู้เรียนทั้งหมดที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างใน การคานวณประสิทธิภาพ
R หมายถึง จานวนคะแนนเต็มของ แบบทดสอบหลังเรียน
90 ตัวหลัง= (Y x 100)/ N
90 ตัวหลัง หมายถึง จานวนร้อยละของผู้เรียนที่สามารถทา แบบทดสอบผ่านทุกวัตถุประสงค์Y หมายถึง จานวนผู้เรียนที่สามารถทาแบบทดสอบผ่านทุกวัตถุประสงค์
N หมายถึง จานวนผู้เรียนทั้งหมดที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างในการคานวณประสิทธิภาพครั้งนี้
การประเมินสื่อที่เรียนรู้ด้วยตนเองจะมุ่งรับประกันคุณภาพใน 2 ประเด็น
1. บ่งบอกคุณภาพของผลลัพธ์การเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน2. บ่งบอกศักยภาพของสื่อว่าสามารถจะพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ครบถ้วนตามจุดประสงค์การเรียนรู้ได้เป็นจานวนเท่าใด
วันจันทร์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559
สรุปการออกแบบและการพัฒนานวัตกรรม
การออกแบบและการพัฒนานวัตกรรมหลักการ 7 ข้อเกี่ยวกับ มัลติมีเดีย
1.หลักของมัลติมีเดีย
2.หลักการของพื้นที่ต่อเนื่อง
3.หลักการของเวลาต่อเนื่อง
4. หลักการของเวลาต่อเนื่อง
5. หลักของรูปแบบ
6.หลักของความแตกต่างระหว่างบุคคล
7.หลักของการควบคุมโดยตรง
การวิเคราะห์เชิงอภิมาน
1.ถ้าเป็นการเรียนรู้ที่ใช้หลายรูปแบบ แต่โต้ตอบไม่ได้
-นักเรียนที่เคยได้เปอร์เซ็นไทล์ที่ 50 จะเปลี่ยนเป็นเปอร์เซ็นไทล์ที่ 71
2. การเรียนผ่านกิจกรรมหลายรูปแบบที่มีการโต้ตอบ
-นักเรียนที่เคยได้เปอร์เซ็นไทล์ที่ 50 จะเปลี่ยนเป็นเปอร์เซ็นไทล์ที่ 82
กลยุทย์ 3 ด้านในการใช้เทคโนโลยีเพื่อดึงประโยช์จากการทำให้เห็นภาพและเพื่อให้นักเรียนอ่าภาพออก
1.พัฒนำนักเรียนให้เป็นผู้บริโภคข้อมูลข่าวสารที่รู้เท่าทัน
2.ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการคิดเชิงวิพากษ์และการคิดสร้างสรรค์โดยใช้ภาพ
3.ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการสื่อสารด้วยภาพ
มาตรฐานหลักในการออกแบบภาพ
1. ความแตกต่าง
2.การปรากฏซ้ำ
3. การจัดตำแหน่ง
4. ความใกล้ชิด
การท่องอินเทอร์เน็ต
1.การรู้จักใช้ข้อมูล
2. ความน่าเชื่อถือของเว็บไซด์
การวิจัยและพัฒนา
ขั้นที่ 1 การสร้างและหาประสิทธิภาพ
ขั้นที่ 2 ศึกษาผลการนาไปใช้
ขั้นที่ 3 ประเมินผล
|
สรุปทฤษฏีรูปแบบและกลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรม
ทฤษฎี รูปแบบและกลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการพัฒนานวัตกรรม
-ความหมายของการพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
-ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา
-แหล่งสืบค้น ตัวอย่างนวัตกรรม
-ขั้นตอนการพัฒนานวัตกรรม
“นวัตกรรม” หมายถึงความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ที่ยังไม่เคยมีใช้มาก่อน หรือเป็นการพัฒนาดัดแปลงมาจากของ. เดิมที่มีอยู่แล้ว ให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น เมื่อนำ นวัตกรรมมาใช้จะช่วยให้การทำงานนั้นได้ผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกว่าเดิม ทั้งยังช่วย ประหยัดเวลาและแรงงานได้ด้วย
ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา
-นวัตกรรมด้านสื่อการสอน
-นวัตกรรมด้านวิธีการจัดการเรียนการสอน
-นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร
-นวัตกรรมด้านการวัดและการประเมินผล
-นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ
ขั้นตอนการพัฒนานวัตกรรม แบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอน
1. กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้
2. กำหนดกรอบแนวคิดขอกระบวนการเรียนรู้
3. สร้างต้นแบบนวัตกรรม
4. ทดลองใช้นวัตกรรม
5. เผยแพร่นวัตกรรม
องค์ประกอบที่เป็นมิติสำคัญของนวัตกรรม
มีอยู่ 3 ประการ คือ
1. ความใหม่ (Newness)
2. ประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ (Economic Benefits)
3. การใช้ความรู้และความคิดสร้างสรรค์ (Knowledge And Creativity ldea)
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
1.การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับสิ่งตอบสนอง
2.พฤติกรรมมนุษย์สามารถปรับเปลี่ยนได้โดยมีการวางเงื่อนไข
3.การเลือกแรงเสริมมีทางเลือกให้สอดคล้องกับสถานะในการจัดการเรียนการสอน
4.การเรียนรู้โดยการเปรียบเทียบความเหมือนและความต่างกัน
5.พฤติกรรมสามารถควบคุมและสร้างได้
|
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)